วัตถุประสงค์

  • จุดประสงค์ ที่ 1

    พัฒนาระบบการบริการการแพทย์ผู้ป่วย/ผู้บาดเจ็บในภาวะฉุกเฉินอย่างบูรณากรและการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ อ่านต่อ คลิก

    และนวัตกรรมทางการแพทย์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบบริการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินอย่างครบวงจรและครอบคลุมในระบบบริการสุขภาพทั้งPre-hospital,Intra-hospital/Inter-hospitalและPost-hospitalในเครือข่ายของโรงพยาบาลการส่งต่อผู้ป่วย/ผู้บาดเจ็บในจังหวัดเชียงใหม่และการส่งต่อผู้ป่วยกลับสู่ชุมชนทั้งนี้จะมีการพัฒนาระบบฐานข้อมูลกลางระบบฐานข้อมูลเฉพาะและระบบการรายงานติดตามและประเมินผลเพื่อสร้างต้นแบบของการจัดระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินก่อนจะนำไปขยายผลในพื้นที่ในเขตภาคเหนือตอนบนและทั่วประเทศ

  • จุดประสงค์ ที่ 2

    พัฒนานวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบบริการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินอย่างครบวงจร อ่านต่อ คลิก

    ที่จำเป็นต่อระบบการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินทั้งPre-hospital,Intra-hospital/Inter-hospitalและPost-hospital

our services

ดาวน์โหลดแบบฟอร์มขอรับข้อเสนอโครงการ ปี 2

read more

ดาวน์โหลดตัวอย่างและแบบฟอร์มรายงานฉบับสมบูรณ์

read more

ส่งรายงานความก้าวหน้า

Progress report

read more

Dashboard

Statistics and Data analytic

read more

กิจกรรม

Activties

read more

ส่งข้อเสนอโครงการปี 2

read more

แบบฟอร์มรายงานความก้าวหน้า (รายงวด 4 เดือน)

read more

แบบฟอร์มรายงานความก้าวหน้าโครงการ (กิจกรรม)

read more

คู่มือ โปรแกรมและเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์ ปี 1

read more

ข่าวประชาสัมพันธ์


การประชุมวิชาการ เหลียวหลัง-แลหน้า งานวิจัยมุ่งเป้า“การพัฒนาระบบบริการสุขภาพด้านการดูแลภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุขอย่างครบวงจร จากล่างสู่บน ปีที่ 3 (ปีสุดท้าย)”

คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กำหนดจัดการประชุม... อ่านต่อคลิก

โครงการวิจัยรูปแบบการขยายผลการเรียนรู้ด้านการแพทย์ฉุกเฉินของสถานศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ จัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การจัดการเรียนรู้ด้านการแพทย์ฉุกเฉินของผู้บริหารและครูผู้สอนสถานศึกษา

วันเสาร์ที่ 9 ธันวาคม 2566 โครงการวิจัยรูปแบบการขยายผลการ... อ่านต่อคลิก

คณาจารย์คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย เข้าเยี่ยมชมการดำเนินงานของโครงการ “รูปแบบการพัฒนาระบบบริการบริบาลฟื้นฟูผู้ป่วยระยะกลาง (Intermediate Care) จังหวัดเชียงใหม่”

วันที่ 2 พฤศจิกายน 2566 รศ.ดร.วราภรณ์ บุญเชียง รองคณบดีคณ... อ่านต่อคลิก

คณะสาธารณสุขศาสตร์จัดการประชุม “เชิงปฏิบัติการการเรียนรู้การใช้เครื่อง CMUgency phase 3”

วันที่ 27 ตุลาคม 2566 คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชีย... อ่านต่อคลิก

โครงการวิจัยพัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้บาดเจ็บจังหวัดขอนแก่น จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การใช้โปรแกรม Looker Studio ในการจัดการระบบฐานข้อมูลผู้ป่วยบาดเจ็บหลายระบบ จังหวัดขอนแก่น

วันที่ 19 ตุลาคม 2566 โครงการวิจัยพัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้บา... อ่านต่อคลิก

ทีมวิจัย IMC ขอนแก่น ออกเยี่ยมเสริมพลังเพื่อติดตามเยี่ยมผู้ป่วย

วันที่ 18 ตุลาคม 2566 ทีมวิจัย IMC จังหวัดขอนแก่น ออกเยี่... อ่านต่อคลิก

การประชุมการประเมินผลตอบแทนทางสังคม (SROI) ของการพัฒนาระบบบริการบริบาลฟื้นฟูผู้ป่วยระยะกลาง IMC

วันที่ 17 ตุลาคม 2566 คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียง... อ่านต่อคลิก

โรงพยาบาลสันทราย จัดการประชุม “เชิงปฎิบัติการคืนข้อมูลให้กับผู้รับบริการและให้ผู้รับบริการแสดงความคิดเห็นในการจัดบริการแบบ On site"

วันที่ 26 กันยายน 2566 โรงพยาบาลสันทราย ได้จัดทำโครงการว... อ่านต่อคลิก

จากวันนั้นถึงวันนี้

โครงการมุ่งเน้นพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบบริการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินอย่างครบวงจรทั้ง Pre-hospital,Intra-hospital/Inter-hospital และ Post-hospital ให้มีประสิทธิภาพเป็นการคุ้มครองสิทธิผู้ป่วยเป็นการขยายบริการห้องฉุกเฉินออกไปนอกโรงพยาบาลเข้าสู่ชุมชนและสามารถเป็นต้นแบบที่ดีและขยายสู่พื้นที่อื่นๆต่อไป

3

ปี secsi project

45

mini projects

60

morethan Areas

120

morethan documents

1080

Days Finished

SECSI Presentation

โครงการวิจัยการพัฒนาระบบบริการเพื่อการดูแล ภาวะฉุกเฉิน ด้านการแพทย์และสาธารณสุขอย่างครบวงจร (พบฉ)